Page 9 - น้อมนำพระบรมราโชบาย-ร.10-รร.บ้านหนองหอยป่าหวาย
P. 9
๕
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือทำและได้คิดในสิ่งที่ทำลงไป เพื่อเป็นการสร้างประสบการณ์ตรง
ู้
ั้
ึ้
ิ
ั้
ให้เกิดขนแก่ผเรียน โดยผู้เรียนจะมีปฏสัมพันธ์กับเพื่อนและครูด้วยการลงมือ ทำกิจกรรมรวมกันทงในชนเรียน และ
ิ
้
ิ่
ี่
่
นอกชั้นเรียน จากสงทได้ลงมือทำผานการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การอภิปราย และการสะทอนคดเพื่อสร้าง
้
ความหมายกับสิ่งทไดเรียนรู้ เพื่อสร้าง ความตระหนักให้ผเรียนเห็นคณคาและอนุรักษ์ภูมิปัญญาทองถิ่น จดกระบวนการ
ั
้
่
ุ
ู้
ี่
เรียนรู้แก่นักเรียนตาม นโยบายและมุ่ง ส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนาความรู้แบบบูรณาการตามแนวทางการจัดการ
้
เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สู่ การสร้าง Soft Power ผ่านแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นเพื่ออนุรักษ์สืบสานภูมิปัญญาทองถิ่น
เกี่ยวกับการแปรรูปปลานิลที่ หลากหลาย มาประยุกตต่อยอดสร้างสรรค์ผลงานให้ทันสมัยเพื่อให้เข้ากับการใชงาน
์
้
ู่
ของคนในปัจจุบันและยังเป็น การเผยแพร่วิธีการทำแจ่วบองจากปลาร้าปลานิล ให้ยังคงอยู่คกับชมชนอย่างยั่งยืน
ุ
สอดคล้องกับ สภาพปัญหาและบริบทของโรงเรียน ตามรูปแบบการบริหารงาน โดยใช้นวัตกรรม การพัฒนาทักษะ
อาชีพ ให้ ผู้เรียนมงานทำ น้อมนำพระบรมราโชบายฯ โดยใช้ DPSS MODEL”รวมกับวงจรคุณภาพ PDCA
ขั้นที่ 7. เป็นการพัฒนาเพื่อความยั่งยืน (Sustainable) เป็นขั้นตอนที่ต้องการจะพัฒนางานท ี่
ดำเนินการ เพื่อความยั่งยืน เกิดผลถาวรด้านการส่งเสริมการมีงานทำ มีอาชีพ และคุณลักษณะของผู้เรียนตามพระ
บรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวง รัชกาลที่ ๑๐ รวมไปถึงเครือข่ายความร่วมมือที่ร่วมดำเนินกิจกรรมมา
ด้วยกัน โดยใช้กระบวนการ ดังนี้
ี่
๗.๑ นำกิจกรรมทดำเนินการเข้าไปเป็นนโยบายของโรงเรียน โดยการระบุไว้ในวิสัยทัศน์พันธกิจ
หรือเป้าประสงค์ของโรงเรียน เพื่อให้สามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่องแม้จะมีการเปลี่ยนแปลงตัวบุคลากร ทั้งสายบริหาร
และสายงานการสอน
๗.๒ จัดให้มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนของแต่ละกิจกรรมในทุกปีเพื่อเป็นการ
จัดการความรู้ได้เรียนรู้ร่วมกัน แม้จะไม่ใช่ผู้รับผิดชอบกิจกรรมนั้นๆ แต่ในฐานะเป็นผู้เกี่ยวข้อง หรือผู้รับบริการ เป็นต้น
๓.๓ การใช้ทรัพยากรมีอยู่อย่างเหมาะสม คุ้มค่า สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน หรือหน่วยงาน
โรงเรียนบ้านหนองหอยป่าหวาย เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ชุมชนอยู่ใกล้แม่น้ำโขง มีการเลี้ยง
ปลานิลในกระชัง วิถีชีวิตของชุมชนโดยรอบบริเวณโรงเรียนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร ทำนา ทำไร่ ทำสวน
และรับจ้างทั่วไป ซึ่งชุมชนรอบโรงเรียนมีความพร้อมเรื่องวัตถุดิบที่หลากหลาย มีภูมิปัญญาท้องถิ่น สถานประกอบการ
หน่วยงาน องค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนที่พร้อมให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือและ สนับสนุนการจัดการศึกษาของโรงเรียน
ั
คณะกรรมการสถานศึกษา ครูและบุคลากรมีความพร้อม ผู้ปกครองมีความเข้าใจและยอมรับในการจดการเรียนการสอนท ี่
ั
เน้นการส่งเสริมทักษะอาชีพ เพื่อการมีงานทำ มีอาชีพ จึงเป็นแนวทางการส่งเสริมให้นักเรียนที่จบการศึกษาภาคบังคบ
แล้วไม่ได้ศึกษาต่อ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ต่อยอดในการประกอบอาชีพในอนาคตได ้
ขั้นตอนในการพัฒนานวัตกรรม การใช้แหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นบูรณาการกับหลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นตอนการดำเนินงาน การดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ
ุ
P- Planning การวางแผน 1. ประชมสร้างความเข้าใจและเห็น - ผู้บริหาร และครู
โรงเรียนวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อบูรณา การ ความสำคัญของหลักสตรสถานศึกษา - กรรมการ สถานศึกษา
ู
จัดการเรียนที่เหมาะสมกับบริบท และ 2. ประสานความร่วมมอกับหน่วยงาน - ปราญ์ชาวบ้าน
สภาพแวดล้อมของโรงเรียน โดย อาศัยการมี ต่างๆในการจดการเรียนการสอนบูรณา (คุณพิมพ์สิริ คำพิลา)
ั
ส่วนร่วม ของทุกฝ่าย ได้แก ผู้บริหาร ครู การตามแนว ทางการจดการเรียนรู้ใน - นักเรียน
ั
บุคลากร นักเรียน ผปกครอง ชุมชน และภาค ศตวรรษท 21 สการ สร้าง Soft power
ี่
ู่
ู้
ี
เครือข่าย แล้วนำไป วางแผนในการดำเนินงาน สมุนไพรจาก ปราญ์ ชาวบ้านบ้านบ้านกร
่
่
เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค และเป้าหมายที่ตั้งไว้ รวดผานแหลงเรียนรู้ในท้องถิ่น
์