Page 7 - น้อมนำพระบรมราโชบาย-ร.10-รร.บ้านหนองหอยป่าหวาย
P. 7
๓
๓.๑ การออกแบบผลงาน /นวัตกรรม น าเสนอผลงาน /นวัตกรรมในรูปแบบผังงาน (Flowchart)
ึ
การบริหารจัดการศึกษา เพื่อส่งเสริมการมีงานทำมีอาชีพ ให้กับนักเรียน ตามพระบรมราโชบายด้านการศกษา
ในหลวงรัชกาลที่ ๑๐ ด้วยกระบวนการ DPSS MODEL โรงเรียนบ้านหนองหอยป่าหวาย มีการบริหารจัดการเชงระบบ
ิ
เกิดจากการบูรณาการตามวงจรคุณภาพ Deming Cycle (PDCA) การบริหารแบบมีส่วนร่วมในสถานศึกษา
(Participation) แนวคิดการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Management : SBM) และการพัฒนา
้
ึ
เพื่อความยั่งยืน (Sustainable) โดยการขับเคลอนดวยกิจกรรม ๔ ด้าน ประกอบด้วย ๑) บูรณาการในสถานศกษา
ื่
ตามหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น ๒) จัดในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมชุมนุม ๓) จัดทำโครงการเพื่อพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์และ ๔) สอดแทรกในกิจวัตรประจำวัน
(ดังแผนภาพที่ 1 แสดงแนวทางการดำเนินงาน เพื่อส่งเสริมการมีงานทำ มีอาชีพของนักเรียน ตามพระบรมรา
โชบายด้านการศึกษา ในหลวงรัชกาลที่ 10 โรงเรียนบ้านหนองหอยป่าหวาย)
ิ
ิ
๓.๒ การดำเนินงานตามกจกรรม อธิบายรายละเอียดตามขั้นตอนของกจกรรมที่ออกแบบไว้ในผังงาน (Flowchart)
แนวทางการบริหารจัดการศกษา เพื่อส่งเสริมการมีงานทำ มีอาชีพให้กับนักเรียน ตามพระบรมราโชบาย
ี่
ด้านหนึ่งนักเรียน หนึ่งอาชีพ : มีงานทำ - มีอาชีพ ในหลวงรัชกาลท ๑๐ ของโรงเรียนบ้านหนองหอยป่าหวาย ด้วยกระบวนการ
DPSS มีการดาเนินงานที่ประกอบด้วย องค์ประกอบเชิงกระบวนการ ๔ แนวคิด ดังต่อไปนี้
๑. วงจรคุณภาพ Deming Cycle (PDCA) ประกอบด้วย ๔ ขั้นตอน ได้แก่
๑.๑ การวางแผน (Plan)
๑.๒ การนาไปปฏิบัติ (Do)
๑.๓ การติดตาม ตรวจสอบ (Check)
๑.๔ การปรับปรุงแก้ไข (Action)
๒. การมีส่วนรวม (Participation) ขั้นตอนการมีส่วนร่วมแบ่งออกเป็น ๔ ขั้นตอน ได้แก
่
๒.๑ การมีส่วนร่วมในการกาหนดแนวทางในการพัฒนา
๒.๒ การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
๒.๓ การมีส่วนร่วมในการปฏบัติงาน
๒.๔ การมีส่วนร่วมในการประเมินผลงานกิจกรรมพัฒนา
๓. แนวคิดการบริหารจัดการศึกษาโดยใชโรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Management : SBM)
ประกอบด้วย ๖ ขั้นตอน ได้แก่
๓.๑ การกระจายอานาจ (Decentralization)
๓.๒ การบริหารตนเอง (Self-Management)
๓.๓ การบริหารแบบมีส่วนร่วม (Participation)
๓.๔ การมีภาวะผู้นาแบบเกื้อหนุน (Facilitative Leadership)
๓.๕ หลักการพัฒนาทั้งระบบ (Whole School Approach)
๓.๖ ความรับผิดชอบทตรวจสอบได้ (Accountability)
ี่
๔. การพัฒนาเพื่อความยั่งยืน (Sustainable Development) ประกอบด้วย ๓ ส่วน ดังนี้
๔.๑ หลักการพัฒนาที่ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง (Leaving no one behind)
๔.๑ การสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Nextwork)
่
๔.๒ การแบ่งปันประสบการณ์และแนวทางปฏิบัตที่ดีทสุดผานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Share
ิ
ี่
Experiences for Best